สถาบันการบินพลเรือน

Civil Aviation Training Center

ข้อมูลเกี่ยวกับสถาบันอุดมศึกษา

1. ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับสถาบันอุดมศึกษา

      สถาบันการบินพลเรือนมีการดำเนินการจัดการศึกษาที่แตกต่างจากมาตรฐานการอุดมศึกษา ได้แก่ การดำเนินการจัดการศึกษาในระดับอาชีวศึกษา ซึ่งในปัจจุบันมีจำนวนทั้งสิ้น 2 หลักสูตร ได้แก่

      - หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาวิชาเตรียมวิศวกรรมการบิน (หลักสูตรระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.))

      - หลักสูตรประกาศนียบัตรทักษะช่างอากาศยาน สาขาวิชาเทคโนโลยีระบบอากาศยาน (หลักสูตรระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.))

     ซึ่งทั้ง 2 หลักสูตร ได้รับการรับรองจากสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เป็นที่เรียบร้อยแล้ว

สถาบันการบินพลเรือน  ไม่มีหน่วยงานด้านการจัดหารายได้

สถาบันการบินพลเรือน  ไม่มีกองทุนที่จัดตั้งขึ้นในสถาบันอุดมศึกษา

สถาบันการบินพลเรือน  ไม่มีหน่วยงานด้านการจัดหารายได้

สถาบันการบินพลเรือน  ไม่มีกองทุนที่จัดตั้งขึ้นในสถาบันอุดมศึกษา

          สถาบันการบินพลเรือน มีหลักสูตรที่จัดการเรียนการสอนโดยได้แจ้งให้สํานักงานปลัดกระทรวงทราบและได้รับการรับรองแล้ว ดังนี้

          เทียบเท่าระดับอนุปริญญา
          - หลักสูตรนายช่างภาคพื้นดิน สาขาวิชาช่างเครื่องบิน วิชาเอกเครื่องยนต์แก๊สเทอร์ไบน์ (AMEL (Aeroplane Mechanic) (B1.1,B1.2))
          - หลักสูตรนายช่างภาคพื้นดิน สาขาวิชาช่างเอวิโอนิกส์ AMEL (Avionic Mechanic) (B2)

          https://www.catc.or.th/th/faculty/ground-training-programme/?grade=license-course

          ระดับปริญญาตรี

          - หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการการบิน
          - หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์การบิน
          - หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอากาศยาน

          https://www.catc.or.th/th/faculty/ground-training-programme/?grade=bachelors-degree

          ระดับปริญญาโท

          - หลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต

          https://www.catc.or.th/th/faculty/ground-training-programme/?grade=masters-degree

สถาบันการบินพลเรือนมีการจัดให้บริการด้านทุนการศึกษาเพื่อสนับสนุนผู้เรียนดังนี้

2.1 ทุนกู้ยืม –บริการกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา จำนวน 228 ทุน www.catc.or.th คู่มือนักศึกษา และบริการนักศึกษาทุนกู้ยืม กรอ. กยศ.

2.2 ทุนส่งเสริมการศึกษา - ทุน Golden Wing Award ของสถาบันการบินพลเรือน เป็นทุนที่ให้แก่นักศึกษาทุกหลักสูตร และทุกชั้นปีที่มีผลการเรียนดีเด่น จำนวน 26 ทุน

2.3 ทุนหน่วยงานรัฐ – ทุนเฉลิมราชกุมารีจำนวน 2 ทุน

การให้ทุนและความช่วยเหลือของสถาบัน ในกรณีที่นักศึกษาที่ต้องได้รับความช่วยเหลือเป็นพิเศษ

     - กรณีเกิดปัญหาด้านเศรษฐกิจในระหว่างการศึกษา แผนกกิจการนักศึกษา โดยงานแนะแนวให้คำปรึกษา และงานกองทุนจะดำเนินการให้คำแนะนำ และดำเนินการให้ความช่วยเหลือ หรือประสานงานให้หน่วยเกี่ยวข้องดำเนินการช่วยเหลือ อาทิ ของยกเว้นค่าปรับและดอกเบี้ย ขอผ่อนชำระค่าเทอม

     - กรณีเกิดปัญหาด้านจิตใจในระหว่างการศึกษา แผนกกิจการนักศึกษา โดยงานแนะแนวให้คำปรึกษา จะดำเนินการให้คำปรึกษาแนะนำ คัดกรอง ประสานผู้ปกครอง และส่งต่อจิตแพทย์ www.catc.or.th คู่มือนักศึกษา

     - กรณีการถูกล่วงละเมิดแผนกกิจการนักศึกษา โดยงานแนะแนวให้คำปรึกษา จะดำเนินการประสานงานผู้ปกครอง ให้คำปรึกษาแนะนำ ประสานงานตำรวจ นำนักศึกษาพบจิตแพทย์ นำนักศึกษาไปขอรับเงินเยียวยาจากกระทรวงยุติธรรม www.catc.or.th คู่มือนักศึกษา

  • ระบบบริหารการรับสมัครนักศึกษา
  • ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารการศึกษา
  • ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารองค์กร
  • ระบบฝึกอบรมเฉพาะด้านการบิน
  • ระบบการเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)
  • ระบบบริหารจัดการงานซ่อมบำรุงอากาศยาน
  • ระบบบริหารจัดการห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์
  • ระบบฝึกอบรมเฉพาะด้านการบิน
  • ระบบการเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)
  • Microsoft Office 365
  • Microsoft Teams

2. ข้อมูลการนําองค์กร

สถาบันการบินพลเรือนมีการพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน ด้วยวิธีการที่หลากหลาย เช่น

   - การสอดแทรกในวิชาเรียนที่เกี่ยวข้องกับจริยธรรมจรรยาบรรณวิชาชีพ

   - การเรียนการสอนในภาคทฤษฎี การเรียนการสอนในภาคปฏิบัติจากการทดลองในห้องปฏิบัติการ และจากงานที่ได้รับมอบหมาย

   - การมอบหมายงานที่มีลักษณะให้มีการค้นคว้าเพื่อจะสามารถสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง

   - การมอบหมายงานที่เป็นโครงงาน เป็นระบบครบวงจรการทำกิจกรรมที่ต้องมีการจัดสรรงาน คน และเวลา

   - การมอบหมายงานที่เป็นโครงงาน เป็นระบบครบวงจรการทำกิจกรรมที่ต้องมีการจัดสรรงาน คน และเวลา

   - การมอบหมายงานที่ต้องมีการนำเสนอในลักษณะปากเปล่าประกอบสื่อในชั้นเรียน และการนำ เสนอโครงงานด้วยปากเปล่า

     โดยผู้สำเร็จการศึกษาจากสถาบันฯ มีคุณลักษณะตามอัตลักษณ์ของสถาบันฯ ดังนี้

     อัตลักษณ์ของสถาบันการบินพลเรือน

     “มีความรู้เป็นมาตรฐาน มุ่งงานความปลอดภัย ใส่ใจคุณธรรม ผู้นำด้านการบิน”

(2) หลักสูตรที่สอดคล้องกับมาตรฐานของสภาวิชาชีพ โดยสภาวิชาชีพได้รับรองให้ผู้เรียนหรือบัณฑิตในหลักสูตรเข้าศึกษาต่อหรือเป็นสมาชิกเพื่อประกอบวิชาชีพที่อยู่ในความดูแลของสภาวิชาชีพได้

- หลักสูตรของสถาบันการบินพลเรือน ไม่มีหลักสูตรที่เข้ารับการรับรองโดยสภาวิชาชีพ

(1) สภาสถาบันอุดมศึกษา (ข้อมูลเกี่ยวกับนายกสภาสถาบันอุดมศึกษาและกรรมการสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยเปิดเผยรายชื่อ ประวัติประสบการณ์ความรู้ความสามารถ วาระการดํารงตําแหน่งการเข้าร่วมประชุม หลักเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติหน้าที่และอัตราค่าตอบแทน)
(2) หน่วยงานที่ปฏิบัติงานธุรการของสภาสถาบันอุดมศึกษา
(3) คณะกรรมการที่แต่งตั้งขึ้นโดยสภาสถาบันอุดมศึกษาตามที่กฎหมายหรือข้อบังคับของสถาบันอุดมศึกษากําหนดไว้เป็นการเฉพาะ และหน้าที่และอำนาจของคณะกรรมการดังกล่าว (โดยเปิดเผยรายชื่อ วาระการดํารงตําแหน่งการเข้าร่วมประชุม รายงานผลการปฏิบัติหน้าที่และอัตราค่าตอบแทน)

(1) โครงสร้างองค์กรของฝ่ายบริหาร
(2) โครงสร้างการแบ่งส่วนงานทั้งตามกฎหมายและการแบ่งส่วนงานภายใน
(3) รูปแบบการบริหารซึ่งแสดงนวัตกรรม เช่น การจัดการศึกษาที่แตกต่างจากมาตรฐานการอุดมศึกษา การจัดตั้งส่วนงานเฉพาะกิจหรือส่วนงานเสมือนจริง
(4) ผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษา ได้แก่อธิการบดีรองอธิการบดีคณบดีหรือเทียบเท่า (โดยเปิดเผยรายชื่อผู้ดํารงตําแหน่งประวัติประสบการณ์ความรู้ความสามารถ หลักเกณฑ์การได้มาวาระการดํารงตําแหน่ง หลักเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติหน้าที่และอัตราค่าตอบแทน)

(1) นโยบายธรรมาภิบาล ประมวลจริยธรรมนายกสภาสถาบันอุดมศึกษาและกรรมการสภาสถาบันอุดมศึกษา ผู้บริหาร บุคลากรของสถาบัน อุดมศึกษาและผู้เรียน
(2) ระบบการรับฟัง การวิเคราะห์และการตอบสนองความต้องการของผู้เรียน ผู้ใช้บัณฑิต ท้องถิ่นและสังคมในการดําเนินการตามวัตถุประสงค์ของสถาบันอุดมศึกษา
(3) ข้อมูลการร้องเรียนและกระบวนการจัดการเรื่องร้องเรียน รวมทั้งข้อมูลเกี่ยวกับการตรวจสอบสถาบันอุดมศึกษาโดยองค์กรอื่น
(4) ข้อมูลผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดําเนินงานหรือผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดําเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ

(1) จํานวนบุคลากรที่จําแนกตามสถานะ
(2) จํานวนบุคลากรสายวิชาการที่จําแนกตามวุฒิการศึกษาและตําแหน่งทางวิชาการ
(3) ข้อมูลเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการได้มาซึ่งบุคลากร
(4) หลักเกณฑ์การบริหารงานบุคลากรสายวิชาการและบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ

(1) งบประมาณแผ่นดิน
(2) งบประมาณรายจ่ายประจําปีของสถาบัน อุดมศึกษา
(3) เงินอุดหนุน
(4) รายได้จากค่าเล่าเรียนและค่าธรรมเนียมรายได้จากการทําวิจัยและนวัตกรรม
(5) รายได้จากทรัพย์สินทางปัญญาและการร่วมทุน
(6) รายได้จากการให้บริการทางวิชาการและรายได้อื่น เช่น ดอกเบี้ย ค่าเช่า
(7) การจัดหารายได้และหน่วยงานที่จัดหารายได้
(8) การบริหารเงินนอกงบประมาณ
(9) กองทุนที่จัดตั้งขึ้นในสถาบันอุดมศึกษา

(1) หลักสูตรที่มีการจัดการเรียนการสอนโดยได้แจ้งให้สํานักงานปลัดกระทรวงทราบแล้ว และหลักสูตรที่มีการรับรองจากคณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษา (หลักสูตรปกติหลักสูตรภาคพิเศษ และหลักสูตรนานาชาติ)
(2) หลักสูตรที่สอดคล้องกับมาตรฐานของสภาวิชาชีพ โดยสภาวิชาชีพได้รับรองให้ผู้เรียนหรือบัณฑิตในหลักสูตรเข้าศึกษาต่อหรือเป็นสมาชิกเพื่อประกอบวิชาชีพที่อยู่ในความดูแลของสภาวิชาชีพได้
(3) ข้อมูลอัตราค่าเล่าเรียน อัตราค่าเล่าเรียนเฉลี่ยต่อปีการศึกษา (หลักสูตรปกติ หลักสูตรภาคพิเศษ หลักสูตรนานาชาติ)

 

(1) ข้อมูลจํานวนห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ ห้องทดลอง ห้องปฏิบัติการจําลอง หอพัก และห้องสมุด
(2) การให้ทุนและความช่วยเหลือของสถาบันอุดม ศึกษาเพื่อสนับสนุนผู้เรียนในสถาบันอุดมศึกษา

(1) ข้อมูลจํานวนห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ ห้องทดลอง ห้องปฏิบัติการจําลอง หอพัก และห้องสมุด
(2) สิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับผู้เรียน ที่ต้องได้รับความช่วยเหลือเป็นพิเศษ
(3) การให้ทุนและความช่วยเหลือของสถาบันอุดม ศึกษาเพื่อสนับสนุนผู้เรียนที่ต้องได้รับความช่วยเหลือเป็นพิเศษ ในสถาบันอุดมศึกษา

(1) ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการเรียนการสอนและบริหารจัดการ
(2) ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการให้บริการ และอํานวยความสะดวกต่อผู้เรียน โดยเฉพาะบริการระบบการเข้าถึงเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
(3) การเป็นสมาชิกฐานข้อมูลสําคัญของโลกและประเทศ