- เกี่ยวกับองค์กร
- ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร
- ข้อมูลเกี่ยวกับผู้บริหาร
- นโยบายและประกาศ
- แผนยุทธศาสตร์การจัดการความรู้ สบพ. ปีงบประมาณ 2568-2572
- แผนยุทธศาสตร์การบริหารและพัฒนาทุนมนุษย์ ปีงบประมาณ 2568
- การแสดงความรับผิดชอบของธุรกิจต่อสังคม
- การกำกับดูแลกิจการที่ดีและความยั่งยืนขององค์กร
- แผนวิสาหกิจและแผนปฏิบัติการประจำปี
- การบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายในขององค์กร
- งบประมาณ
- รายงานผลการตรวจสอบและสอบทานงบการเงิน
- กฎหมาย/ระเบียบ/ข้อบังคับ สบพ.
- จัดซื้อจัดจ้าง
- ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต (ศปท.)
- รายงานประจำปี
- ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร สบพ.
- ร่วมงานกับเรา
- รับเรื่องร้องเรียน
- ห้องสมุด
- เอกสารดาว์นโหลด (INTRA NET)
การทดสอบแบบไม่ทำลาย
การทดสอบแบบไม่ทำลาย แบ่งออกเป็น 6 วิธี ได้แก่
- การตรวจสอบด้วยสารแทรกซึม (Penetrant Testing (PT)) เพื่อค้นหาความไม่ต่อเนื่องหรือจุดบกพร่องชนิดรูพรุน และรอยร้าวบริเวณพื้นที่มีความหน้าลึกไม่มาก ที่ไม่สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่า
- การตรวจสอบด้วยผงแม่เหล็ก (Magnetic Particle Testing (MT)) เป็นการหาจุดบกพร่องของชิ้นงานด้วยกระแสแม่เหล็ก
- การตรวจสอบแบบการใช้เครื่องอัลตร้าโซนิค (Ultrasonic) ใช้หลักการทดสอบด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงหรือคลื่นอัลตร้าโซนิกส์ (ความถี่ >20KHz) ที่แผร่ผ่านเข้าไปในเนื้อของชิ้นงานเพื่อหาความบกพร่องที่มีความลึกมากกว่า 3 มิลลิเมตร
- การตรวจสอบแบบเอ็ดดี้เคอเรนท์ (Eddy Current Testing) คือ ใช้ตรวจอสบชิ้นส่วนโลหะแบบตรวจหาจุดบกพร่องและการจัดกกลุ่มโลหะผสม สำหรับจุดบกพร่องบนพื้นผิวและบริเวณความลึกไม่เกิน 3 มิลลิเมตร
- การตรวจแบบรังสีเอ๊กเรย์ (X-ray) ใช้ในการตรวจเช็คด้านใน สามารถเช็คตำหนิที่อยู่ภายในได้อย่างชัดเจน
- การตรวจสอบด้วยสายตาร่วมกับเครื่องมือ เช่น แว่นขยายส่งตรวจโบสโคป (Borescope) แทนการรื้อชิ้นส่วนออกมา เป็นต้น
การทดสอบแบบไม่ทำลาย เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาในหลักสูตร B1.1 และ B1.2 เนื่องจากเป็นวิชาที่ระบุไว้ตามมาตรฐาน EASA ทั้งนี้การทดสอบแบบไม่ทำลายสามารถนำมาใช้ในการตรวจสอบกับเครื่องฝึกบินของศูนย์ฝึกบิน สถาบันการบินพลเรือน และสามารถหารายได้ในการให้บริการ โดยดำเนินการในลักษณะของ AMO คือ การให้บริการด้านการทดสอบแบบไม่ทำลายของเครื่องบินให้กับสายการบินต่าง ๆ หรือตามความต้องการของลูกค้า
การตรวจสอบแบบไม่ทำลาย คือ การตรวจสอบลักษณะของเครื่องบินในแต่ละพาร์ท ซึ่งจะมีชั่วโมงของการใช้งานที่แตกต่างกัน เมื่อครบชั่วโมงการทำงานหรือไม่แน่ใจในความปลอดภัยของเครื่องบินในส่วนต่างๆ ต้องมีการตรวจสอบว่ามีความปลอดภัยตามมาตรฐานที่กำหนดไว้ในคู่มือหรือไม่
การทดสอบแบบไม่ทำลาย แบ่งออกเป็น 6 วิธี ได้แก่
- การตรวจสอบด้วยสารแทรกซึม (Penetrant Testing (PT)) เพื่อค้นหาความไม่ต่อเนื่องหรือจุดบกพร่องชนิดรูพรุน และรอยร้าวบริเวณพื้นที่มีความหน้าลึกไม่มาก ที่ไม่สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่า
- การตรวจสอบด้วยผงแม่เหล็ก (Magnetic Particle Testing (MT)) เป็นการหาจุดบกพร่องของชิ้นงานด้วยกระแสแม่เหล็ก
- การตรวจสอบแบบการใช้เครื่องอัลตร้าโซนิค (Ultrasonic) ใช้หลักการทดสอบด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงหรือคลื่นอัลตร้าโซนิกส์ (ความถี่ >20KHz) ที่แผร่ผ่านเข้าไปในเนื้อของชิ้นงานเพื่อหาความบกพร่องที่มีความลึกมากกว่า 3 มิลลิเมตร
- การตรวจสอบแบบเอ็ดดี้เคอเรนท์ (Eddy Current Testing) คือ ใช้ตรวจอสบชิ้นส่วนโลหะแบบตรวจหาจุดบกพร่องและการจัดกกลุ่มโลหะผสม สำหรับจุดบกพร่องบนพื้นผิวและบริเวณความลึกไม่เกิน 3 มิลลิเมตร
- การตรวจแบบรังสีเอ๊กเรย์ (X-ray) ใช้ในการตรวจเช็คด้านใน สามารถเช็คตำหนิที่อยู่ภายในได้อย่างชัดเจน
- การตรวจสอบด้วยสายตาร่วมกับเครื่องมือ เช่น แว่นขยายส่งตรวจโบสโคป (Borescope) แทนการรื้อชิ้นส่วนออกมา เป็นต้น